http://nkcd.igetweb.com
สร้างเว็บไซต์Engine by iGetWeb.com

 หน้าแรก

บุคคลากร

 ประวัติอำเภอ

 แผนที่อำเภอ

 บทบาทหน้าที่

 ภารกิจ

 วิสัยทัศน์

 สพจ.จังหวัด

 เว็บไซต์กรม

บุคคลากร

การเตรียมการคัดสรร OTOP

องค์ความรู้

รายงานการพัฒนาหมู่บ้าน/ตำบล

บริการข้อมูลข่าวสาร

กิจกรรมงานเด่น

สินค้า

 ผลิตภัณฑ์เด่นอำเภอนิคมคำสร้อย

ปฎิทิน

« May 2024»
SMTWTFS
   1234
567891011
12131415161718
19202122232425
262728293031 

สถิติ

เปิดเว็บ26/11/2014
อัพเดท11/09/2017
ผู้เข้าชม29,175
เปิดเพจ36,666
สินค้าทั้งหมด14
iGetWeb.com
AdsOne.com

หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง

หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข” ดีเด่นระดับอำเภอ

ประจำปี 2558

อำเภอนิคมคำสร้อย    จังหวัดมุกดาหาร

------------------------------------------

คำขวัญของหมู่บ้าน  

                “หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ลือเลื่องเมืองเก่าโบราณ สืบสานวัฒนธรรม นำชุมชนเข้มแข็ง”

สภาพทั่วไป     

ทำเนียบผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ 6  ตำบลนาอุดม  อำเภอนิคมคำสร้อย  จังหวัดมุกดาหาร

1. นายวิจารณ์   บุญกัณฑ์           ตำแหน่ง   ผู้ใหญ่บ้าน

2. นายสมพงษ์    สุวรรณเพชร     ตำแหน่ง    ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน                 

3. นายสุวิช   เดชโฮม                ตำแหน่ง   ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน

4. นายบัวไข    สัญลักษณ์         ตำแหน่ง  ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายรักษาความสงบ (ผ ร ส)

1 . สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน 

ประวัติหมู่บ้าน

          บ้านสมสะอาด หมู่ที่ 6 ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพทำการเกษตร  พื้นที่โดยรวมเป็นที่ลุ่มๆ ดอนๆ ทำการเกษตรไม่ได้ผลผลิตเท่าที่ควร  ประชากรส่วนใหญ่อพยพมาจากจังหวัด ยโสธร อำนาจเจริญ อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด และมุกดาหาร 

บ้านสมสะอาดมีผู้นำหมู่บ้านตามลำดับดังนี้

1.  นายสวาท  ชูรัตน์               ปี  -        ถึง    -

2.  นายชำนาญ  สันลักษณ์        ปี  -        ถึง    -

3.  นายสวัสดิ์  ชูรัตน์               ปี  2538 ถึง  2540

4.  นายสมหมาย  สันลักษณ์       ปี  2540 ถึง  2546

5.  นายสนอง  พูลรัตน์             ปี  2546 ถึง  2551

6. นาย วิจารณ์  บุญกัณฑ์          ปี  2551  ถึง ปัจจุบัน

ลักษณะภูมิประเทศ  และที่ตั้งหมู่บ้าน

          บ้านสมสะอาด หมู่ที่ 6  ตำบลนาอุดม อำเภอนิคมคำสร้อย  จังหวัดมุกดาหาร  เป็นที่ราบสูงลุ่มๆ ดอนๆ หน้าแล้งน้ำในการเกษตรไม่พอใช้ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตร

เช่น  ทำนา  ทำไร่  ทำสวน เป็นต้น

อาณาเขต

          ทิศเหนือ          ติดต่อกับ   บ้านขอนแก่น  หมู่ที่  2  

          ทิศใต้             ติดต่อกับ  บ้านนาอุดม  หมู่ที่ 1  และบ้านนาเจริญ หมู่ที่  10 ตำบลนาอุดม 

          ทิศตะวันออก     ติดต่อกับ  บ้านนาอุดม หมู่ที่ 1 ตำบลนาอุดม  อำเภอนิคมคำสร้อย 

          ทิศตะวันตก      ติดต่อกับ  บ้านเหล่านางาม  หมู่ที่ 12 ตำบลนาอุดม  อำเภอนิคมคำสร้อย 

ขนาดพื้นที่

             พื้นที่ทั้งหมดของหมู่บ้าน  จำนวน   5,108   ไร่

              แยกเป็น                                                                                                   

                    พื้นที่อยู่อาศัย  100   ไร่

                    พื้นที่ทำนา   2,500   ไร่

                    พื้นที่ทำไร่    1,896   ไร่

                    พื้นที่สาธารณะ 684  ไร่

ข้อมูลครัวเรือน ประชากร

1. ข้อมูลทั่วไป      ครัวเรือนทั้งหมด  181  ครัวเรือน

                      จำนวนประชากรแยกตามช่วงอายุ (ที่มา จปฐ.ปี 2558)

ช่วงอายุประชากร

จำนวนเพศชาย(คน)

จำนวนเพศหญิง(คน)

จำนวนรวม(คน)

น้อยกว่า 1 ปีเต็ม

1 ปีเต็ม – 2 ปี

3 ปีเต็ม – 5 ปี

 6 ปีเต็ม  – 11 ปี

12 ปีเต็ม – 14 ปี

15 ปีเต็ม – 17 ปี

18 ปีเต็ม – 25 ปี

26 ปีเต็ม – 49 ปี

50 ปีเต็ม – 60 ปีเต็ม

มากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป

5

10

16

24

18

10

48

143

49

37

2

3

10

23

17

19

51

138

49

42

7

13

26

47

35

35

99

281

98

79

รวมทั้งหมด

360

354

714

 

2.   แหล่งน้ำที่ยังใช้ประโยชน์ได้

2.1  บ่อน้ำตื้น  8  บ่อ    แยกเป็นบ่อสาธารณะ  2  บ่อ    และบ่อน้ำตื้นส่วนตัว  6  บ่อ

2.2  บ่อบาดาล  4  บ่อ   แยกเป็นบ่อบาดาลสาธารณะ  4  บ่อ  และบ่อบาดาลส่วนตัว  -  บ่อ

2.3  ประปาหมู่บ้าน  4   แห่ง  ครัวเรือนที่ใช้น้ำประปาหมู่บ้าน  181  ครัวเรือน

2.4   แหล่งน้ำผิวดินที่มีคุณภาพ  และมีการใช้ประโยชน์

          2.4.1. ประเภทห้วย(ระบุชื่อ)

                1. ห้วยใหญ่          มีน้ำในช่วงเดือน  ตลอดปี

                2. ห้วยภูโล่น        มีน้ำในช่วงเดือน     พ.ค. – ก.พ.

2.4.2    หนองน้ำสาธารณา(ระบุชื่อ)

       1. หนองไทย-เยอรมัน  มีน้ำในช่วงเดือน  ตลอดปี

2.4.3   ฝาย คสค. หรือทำนบดินกั้นน้ำสาธารณะ   จำนวน         -        แห่ง

2.4.4.  สระน้ำส่วนตัว      120     แห่ง 

2.4.5.  คลองส่งน้ำ คสล. หรือคลองดิน จำนวน  -    แห่ง  ยาว     -   เมตร

2.4.6   ครัวเรือนที่มีน้ำสะอาดดื่มและบริโภคตลอดปี    181    ครัวเรือน 

2.4.7   ครัวเรือนที่มีน้ำใช้เพียงพอตลอดปี     181   ครัวเรือน

2.4.8.  ปัญหาด้านน้ำเพื่อการเกษตร คือ  ไม่มีแหล่งน้ำกักเก็บ

  3.  สาธารณะในหมู่บ้าน

          1 .  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/อนุบาล     1    แห่ง

          2.   สถานีตำรวจภูธร                   1    แห่ง

          3.   วัด                                    1    แห่ง

4.   องค์การบริหารส่วนตำบล         1     แห่ง

5.   โทรศัพท์สาธารณะ                 1     แห่ง

6.    ลานกีฬา/สนามกีฬา              1     แห่ง

 4. ครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้      181    ครัวเรือน   และครัวเรือนที่ยังไม่มีไฟฟ้าใช้    -    ครัวเรือน

5.  ครัวเรือนที่มีโทรศัพท์    2   ครัวเรือน และครัวเรือนที่มีโทรศัพท์เคลื่อนที่(มือถือ)  118  ครัวเรือน

6.  การคมนาคมและการสื่อสาร

          6.1  ระยะห่างจากที่ตั้งอำเภอ  21  กิโลเมตร   โดยมีถนนลาดยาง    16  กิโลเมตร  และถนนลูกรัง   5    กิโลเมตร 

          6.2  รถโดยสารประจำทางหรือรถรับจ้างในหมู่บ้าน (/ ) มี   2     คัน  ( ) ไม่มี

7.  ร้านค้าในหมู่บ้าน

          7.1  ร้านค้าชุมชน/ศูนย์สาธิตการตลาด 1 แห่ง  สมาชิก 194 คน ทุนดำเนินการ 200,000 บาท 

          7.2   ร้านค้าเอกชน   2  แห่ง

8 .  เชื่อเพลิงส่วนใหญ่ที่ใช้ในการหุงต้มในครอบครัว    ใช้ถ่าน- ฟืน-แก๊ส

9.   การดำเนินงานทางการเกษตร

          9.1  ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพในการเพราะปลูก    170   ครัวเรือน  ตามลำดับดังนี้

                   1. ปลูกข้าว  166   ครัวเรือน  ผลผลิตข้าวรวมทั้งหมู่บ้าน ประมาณ    -           ถัง

                   2.  อื่นๆ (ระบุ)

                             1.       -         ผลผลิตรวมทั้งหมู่บ้าน     -         กิโลกรัม

                             2.       -         ผลผลิตรวมทั้งหมู่บ้าน     -         กิโลกรัม

          9.2  โรงสีข้าวในหมู่บ้าน    3   แห่ง

          9.3  ครัวเรือนที่เลี้ยงสัตว์เพื่อจำหน่วยและใช้เป็นอาหารในครัวเรือน 181 ครัวเรือน

                     แยกเป็น  -  สัตว์ที่เลี้ยงมากเป็นอันดับ  1  คือ   ไก่     จำนวน      54    ครัวเรือน

                               -  สัตว์ที่เลี้ยงมากเป็นอันดับ  2   คือ  วัว      จำนวน      62    ครัวเรือน 

                               -  สัตว์ที่เลี้ยงมากเป็นอันดับ   3  คือ  กระบือ จำนวน       4    ครัวเรือน

          9.4  ครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบผสมผสาน หรือเกษตรทฤษฎีใหม่    3   ครัวเรือน

          9.5  ครัวเรือนที่เป็นสมาชิกสหกรณ์การเกษตร     -      ครัวเรือน    -    คน 

          9.6  ครัวเรือนที่เป็นสมาชิก ธกส.   120   ครัวเรือน  120  คน 

          9.7  สมาชิกกลุ่มเกษตรกรที่จัดตั้งขึ้นในหมู่บ้าน/ ตำบล   -   ครัวเรือน   -  ราย

10. ด้านเศรษฐกิจ

          10.1  ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพมากกว่า 1 อาชีพ 100   ครัวเรือน

          10.2  ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพอย่างเดียว 10  ครัวเรือน

          10.3  ในหมู่บ้านมีข้าราชการ พนักงาน   และลูกจ้างของรัฐ  11  ครัวเรือน  16  ราย    

          10.4   อัตราจ้างในหมู่บ้านวันละ    300   บาท

          10.5   ครัวเรือนที่จ้างแรงงานคนอื่น   60   ครัวเรือน  ค่าจ้างโดยเฉลี่ยปีที่แล้ว   300  บาท

11.  การทำนา 

11.1  มีพื้นที่ในการทำนาทั้งหมด   2,500  ไร่  และครัวเรือนที่ทำนา  170  ครัวเรือน

11.2  ผลผลิตข้าวเปลือก  ไร่ ละ      400   กิโลกรัม และขายในกิโลกรัมละ  15  บาท

11.3   ครัวเรือนที่มีที่เป็นของตนเอง  ไม่ต้องเช่นคนอื่น    160   ครัวเรือน

11.4   ครัวเรือนที่มีที่เป็นของตนเอง    แต่ยังเช่าที่นาของคนอื่น   11  ครัวเรือน

11.5   ครัวเรือนที่ทำนา และที่เช่านา ของคนอื่นทั้งหมด   170  ครัวเรือน

11.6   ปัญหาการทำนา  คือ  ปุ๋ยราคาแพง  ค่าแรงงานสูง และภัยแล้ง

12.  พื้นที่ปลูกพืชไร่ทั้งหมด  1,896   ไร่  ครัวเรือนที่ปลูกพืชไร่  30  ครัวเรือน  ตามลำดับ  ดังนี้

          1. มันสำปะหลัง จำนวน  15   ครัวเรือน    รวม   100   ไร่

          2. อ้อย            จำนวน  15   ครัวเรือน    รวม    1,090   ไร่

13.   พื้นที่ปลูกผักทั้งหมด     10    ไร่    ครัวเรือนที่ปลูกผัก    100   ครัวเรือน

          1.  พริก            จำนวน    10 ครัวเรือน         รวม     5       ไร่ 

          2  หอมแดง        จำนวน    8   ครัวเรือน         รวม     4       ไร่ 

          3. ผักชีหอม        จำนวน    20  ครัวเรือน         รวม     15     ไร่ 

          4. ถั่ว               จำนวน    34  ครัวเรือน         รวม      65    ไร่

14.   พื้นที่การทำสวนยาง   100  ไร่   ครัวเรือนที่ทำสวนยาง   16   ครัวเรือน 

15.   พื้นที่ทำการเกษตรฤดูแล้งทั้งหมด      24   ไร่   ครัวเรือนที่ทำการเกษตรฤดูแล้ง 38 ครัวเรือน

16.    พืชฤดูแล้งที่ปลูกมากที่สุด  ตามลำดับ   1.  หอมรวม        2.  พริก      3.  ข้าวโพด

17.   สัตว์ใช้งานและเครื่องจักรในการเกษตร

          17.1  ครัวเรือนที่มีควายเหล็ก/รถไถนาเล็ก     154   ครัวเรือน  154   คัน

          17.2  ครัวเรือนที่รถไถนาใหญ่   6   ครัวเรือน  7   คัน

17.3  ครัวเรือนที่ยังใช้โค กระบือ เป็นสัตว์ใช้งาน    -   ครัวเรือน

          17.4   ครัวเรือนที่จ้างควายเหล็ก/รถไถนา  82  ครัวเรือน

18.   แหล่งเงินทุนในหมู่บ้าน

          1. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 1  กลุ่ม สมาชิก  200  คน  สัจจะสะสม รวม  -   บาท

          2. กลุ่มธนาคารหมู่บ้าน 1 แห่ง  สมาชิก  147 คน  เงินทุนฯ  รวม  1,300,000 บาท

          3.  กองทุนหมู่บ้าน   จำนวน  5,671,863.-  บาท  สมาชิกกองทุน    147    คน  

          4.  กองทุนกลุ่มผู้ใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำ     6,000      บาท    สมาชิก   163  คน 

          6.  กองทุนกลุ่มอาชีพต่างๆ  ในหมู่บ้านที่จัดตั้งขึ้นเอง หรือชุมชนกลุ่มจัดตั้งขึ้นเอง

                   (ระบุชื่อกลุ่ม)

                   1. ศูนย์สาธิตการตลาด   เงินทุน     200,000    บาท  สมาชิก   194  คน

                   2. กลุ่มฌาปณกิจ          เงินทุน          3,900   บาท  สมาชิก    39   คน

ผู้นำชุมชน กลุ่ม และองค์กรชุมชน

          1.  ผู้นำฝ่ายปกครองท้องที่

                    1.  นาย วิจารณ์    บุญกัณฑ์         ตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน

                   2.  นาย สมพงษ์    สุวรรณเพชร     ตำแหน่งผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน

                   3.  นาย สุวิช         เดชโฮม          ตำแหน่งผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน

                   ๔. นาย บัวไข         สัญลักษณ์       ตำแหน่ง ผรส.

2.  ผู้นำฝ่ายท้องถิ่น

                   1. นายพันธ์ศักดิ์  สีวะกูล  ตำแหน่งสมาชิกสภา อบต

                   2.  นายสนอง    พูลรัตน์   ตำแหน่งสมาชิกสภา อบต

3.  กลุ่มมวลชนในชุมชน

1.  อาสาพัฒนาชุมชน                        จำนวน    4   คน

2.  อปพร.                                     จำนวน    11    คน

3.  ผู้ประสารพลังแผ่นดิน                    จำนวน    25  คน  

4.  อสพป.                                    จำนวน      -   คน  

5.  คณะกรรมการพัฒนาสตรี (กพสม.)      จำนวน      15 คน  

6.  อาสาสมัคสาธารณสุข (อสม.)             จำนวน     13   คน  

7.  คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน (กทบ.)  จำนวน      13   คน  

8.  คณะกรรมการศูนย์สงเคราะห์ราษฎรประจำหมู่บ้านคณะกรรมการเยาวชนหมู่บ้าน
(กนม.)  จำนวน  -  คน

          4.  ข้อมูลกลุ่มเศรษฐกิจชุมชน/กลุ่มทางสังคมและทุนทางสังคม

กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต         จำนวน  1   กลุ่ม

กองทุนหมู่บ้าน (กทบ.)              จำนวน   1   กลุ่ม

กลุ่มวิสาหกิจชุมชน                  จำนวน   4   กลุ่ม

กลุ่มอาชีพ                            จำนวน   5   กลุ่ม

กลุ่มอื่นๆ แม่บ้าน                   จำนวน   4  กลุ่ม

กลุ่มอื่น ๆ สวนเศรษฐกิจพอเพียง   จำนวน   4  กลุ่ม

ภูมิปัญญาชาวบ้าน/ปราชญ์ชาวบ้าน

  • แพทย์แผนไทย/ สมุนไพร /หมอพื้นบ้าน ได้แก่

1.  นายมอญ      สุวรรณเพชร   เรื่อง  สมุนไพร

2.  นายวิจารณ์   บุญกัณฑ์        เรื่อง  สมุนไพร

  • อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม/ประเพณีท้องถิ่นไทย  ได้แก่
  1. นายเลียน    สัญลักษณ์        เรื่อง การสูตรขวัญ
  2. นายสีนวล   ลูกโม          เรื่อง  ดนตรี
  • ผู้มีความรู้ด้านความเชื่อ โหราศาสตร์ ไสยศาสตร์  ได้แก่

1.นายหมูน       ชมภูภาส         เรื่อง โหราศาสตร์

2. นายสุนนท์    ศรีหล้า       เรื่อง โหราศาสตร์

  • งานฝีมือต่าง ๆ  เช่น ช่างไม้ ช่างปั้น ช่างแกะ หัตถกรรม จักสาน ทอผ้า ได้แก่
  1. นายสงวน    สัญลักษณ์       เรื่อง จักสาน
  2. นายเดือน     สีแล็ง            เรื่อง หัตถกรรม
  • ด้านการเกษตร เช่น การเพาะปลูก ขยายพันธ์ การปรับใช้เทคโนโลยี ได้แก่
  1. นายแดง   สามารถ เรื่อง การปรับใช้เทคโนโลยี
  2. นายสุวิช   เดชโฮม  เรื่อง ขยายพันธุ์
  • ด้านถนอมอาหาร  ได้แก่

      1.  นางหนูพัด   พูลรัตน์       เรื่อง การถนอมอาหาร

      2.  นางลัด    ศรีมาตร          เรื่อง การถนอมอาหาร

  • ด้านการบริหารกลุ่ม

       1. นายวิจารณ์  บุญกัณฑ์ เรื่อง การบริหารกลุ่ม

       2. นายสมพงษ์  สุวรรณเพชร เรื่อง  การบริหารกลุ่ม

แหล่งท่องเที่ยว/อัตลักษณ์ของหมู่บ้าน

แหล่งท่องเที่ยว  สวนเศรษฐกิจพอเพียง แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร

อัตลักษณ์ของหมู่บ้าน

“สมสะอาดชุมชนน่าอยู่ มีศูนย์พิพิธภัณฑ์เฉลิมราช มีปราชญ์ชาวบ้านอันล้ำค่าพาประชาเป็นสุข”

ผลการดำเนินงานขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ

บ้านสมสะอาด หมู่ที่ 6 ตำบลนาอุดม

1. วิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง

          บ้านสมสะอาด  ได้น้อมนำพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาใช้ในการดำเนินชีวิตและดำเนินงานในหมู่บ้าน  ได้ยึดหลักแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง  ลดรายจ่าย  เพิ่มรายได้โดยมีกิจกรรม  ดังนี้

                   1.1  หมู่บ้านสมสะอาดได้ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้เพื่อบริโภคทุกครัวเรือน 
บางครัวเรือนปลูกไว้ที่หัวไร่ปลายนา  และทุกครัวเรือนมีการออมกับกลุ่มกองทุนที่ตั้งขึ้นในหมู่บ้าน 

                   1.2 ส่งเสริมการเลี้ยงไก่พันธ์ไข่เพื่อบริโภค

                   1.3 ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ปุ๋ยหมักที่ทำจากพืชสดและปุ๋ยอินทรีย์ที่ประชาชนผลิตขึ้นเอง  เพื่อลดรายจ่ายจากการซื้อปุ๋ยเคมี  อีกทั้งรณรงค์การใช้ปุ๋ยคอก มูลสัตว์ใช้ในนาข้าวเพื่อเพิ่มผลผลิตการเกษตร  ลดการซื้อปุ๋ยเคมีซึ่งปัจจุบันมีราคาแพงมาก

                   1.4 ครัวเรือนในหมู่บ้านมีการใช้พันธุ์พืช  พันธุ์สัตว์ที่ทางราชการส่งเสริม  เช่น  การเลี้ยงโค 

                   1.5 ส่งเสริมการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่, ไก่พื้นบ้าน, ปลา, เป็ด, สุกร,กบ และจิ้งหรีด

1.6 มีการจัดทำบัญชีครัวเรือน

1.7 คนในหมู่บ้านมีการทำกิจกรรมเพื่อลดรายจ่ายในชีวิตประจำวัน และสามารถสร้างรายได้เพิ่มให้ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 100

1.8 คนในหมู่บ้านร่วมเป็นสมาชิกในกลุ่มต่างๆ ในหมู่บ้าน 

1.9 หมู่บ้านมีการส่งเสริมให้คนในหมู่บ้านเป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ฯ  และกลุ่มอื่นๆ ในหมู่บ้าน

1.10 ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน ผ่านเกณฑ์ จปฐ. ข้อ 24 ร้อยละ 100

1.11 หมู่บ้านได้น้อมนำหลักการตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  มาปฏิบัติเป็นแนวทางในการดำรงชีวิต (ปลูกทุกอย่างที่กิน  กินทุกอย่างที่ปลูก  ใช้ทุกอย่างที่ทำ  ทำทุกอย่างที่ใช้)

2. การบริหารจัดการชุมชน

          2.1 หมู่บ้านมีการประชุม/จัดเวทีประชาคม เพื่อการตัดสินใจ อย่างน้อย  12 ครั้งใน 1 ปี

และมีการบันทึกการประชุม

                   2.2 มีกฎระเบียบข้อบังคับหมู่บ้าน คนในหมู่บ้าน มีการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับตามที่ได้ตกลงกันไว้อย่างเคร่งครัด

1.  การลักขโมย สัตว์เลี้ยง เช่น  เป็ด ไก่ หมู หมา วัว ควาย ปรับ 500 - 50,000 บาท ตามความเหมาะสม

2.  บุกรุกบ้านผู้อื่น งัดแงะ หรือขโมย สิ่งของ ปรับ 500-5,000 บาท ถ้าเสียหายมากจะมอบให้เจ้าหน้าที่ตำรวจดำเนินคดีตามกฎหมาย

3.  จับปลา กบ ในนาข้าว หรือสระของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต ใช้อุปกรณ์ เบ็ด แห ยอ ตาข่าย ฉมวก ปรับ 500 บาท   และให้เจ้าทุกข์เรียกร้องความเสียหายตามความเป็นจริง

4.  ใช้ไฟฟ้าหรือแบตเตอรี่ ช็อตปลาในนาข้าวหรือสระของผู้อื่น หรือที่สาธารณะประโยชน์ ปรับ 500 -10,000 บาท

5.  ขโมย สิ่งของเพาะปลูก เช่น พืช ผัก ผลไม้ ของผู้อื่น โดยไม่ได้รับอนุญาต ปรับ 500-1,000 บาท

6.  กระทำอนาจารข่มขืน แอบดู หญิงอื่นที่ไม่ใช่ภรรยาของตน ปรับ 5,000 บาท และให้เจ้าทุกข์เรียกร้องความเสียหายตาม ความเหมาะสม

7.  งานบุญประจำปี หรือ งานส่วนรวม บุคคลใดสร้างความเดือดร้อนวุ่นวาย ปรับ 2,000 บาท เป็นค่ามหรสพ ถ้างานดำเนินต่อไปไม่ได้ ปรับ 5,000 บาท เป็นค่ามหรสพ และปรับเข้าหมู่บ้านอีก 500 บาท

8.  จัดงานบุญส่วนตัว บุคคลใดสร้างความเดือดร้อนวุ่นวาย ถ้าเจ้าของงานเอาเรื่อง ปรับ 500 บาท เข้าหมู่บ้าน และให้เจ้าของงานเรียกร้องความเสียหายตามความเหมาะสม

9.  สัตว์เลี้ยงปล่อยไม่ดูแล ไปทำลายทรัพย์สินของผู้อื่นเสียหาย เจ้าทุกข์เอาเรื่อง ปรับเข้าหมู่บ้าน 500 บาท ค่าเสียหายอื่นเรียกร้องตามความเหมาะสม

10.  บุคคลใดทะเลาะวิวาทในหมู่บ้านถ้าให้คณะกรรมการไกล่เกลี่ยประนีประนอม ปรับ 500 บาท

11.  ยิงปืน จุดประทัด ดอกไม้ไฟ หรืออื่นๆ โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ปรับ 500 บาท

12.  ขับรถเร็ว เสียงดัง เป็นที่หวาดเสียวสร้างความเดือดร้อน รำคาญ ในหมู่บ้านและห้ามขับรถเร็วในหมู่บ้านไม่เกิน 30 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จับได้ครั้งแรกจะตักเตือน ความผิดครั้งต่อไปรถกระบะ ปรับครั้งละ 500 บาทจักรยานยนต์  200 บาท

13.  ทิ้งขยะที่น่ารังเกียจ ไม่เป็นที่เป็นทางหรือที่สาธารณะ จับได้ปรับครั้งละ 50 บาท

14.  เสพ ขาย ผลิต ยาเสพติดผิดกฎหมาย เช่น ยาบ้า กัญชา เฮโรอีนฝิ่น มอร์ฟีน กาว ทินเนอร์ สารระเหย  นำไปบำบัดรักษา เลิกแล้ว กลับมาทำอีก จะตัดสิทธิ์ทางด้านสังคม เช่นจะกู้ยืมกองทุนต่างๆ ในหมู่บ้านไม่ได้ สวัสดิการต่างๆก็ไม่ได้   

  # ในทุกกรณีถ้ามาตกลงกันที่ ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน ถ้าเรียกร้องค่าเสียหาย ปรับเข้าหมู่บ้าน 500 บาท ถ้าตกลงยินยอมกันด้วยดีจะไม่เสียค่าปรับ สำหรับเงินค่าปรับจะนำเข้าบัญชีกองทุนน้ำประปาหมู่บ้าน เพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนาหมู่บ้านต่อไป #

                 กฎระเบียบข้อบังคับหมู่บ้าน บ้านสมสะอาด นี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 4 เดือน พฤศจิกายน  พ.ศ. 2555  เป็นต้นไป

          2.3 หมู่บ้านมีการจัดเก็บ รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ  เช่น  จปฐ./กชช.2 ค,
แผนชุมชน มีศูนย์เรียนรู้ชุมชน/ ศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน

          2.4 หมู่บ้านมีการจัดทำแผนชุมชนโดยกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน

2.5 หมู่บ้านมีการติดตามประเมินผลการพัฒนาหมู่บ้านในที่ประชุมทุกเดือนเพื่อทราบปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ไขปัญหา โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของคนในหมู่บ้าน

3. ประชาชนในหมู่บ้านมีความรู้รักสามัคคี

3.1  คนในหมู่บ้านมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของหมู่บ้าน โดยพิจารณาจากการผ่านเกณฑ์ จปฐ. ปี 2558 ข้อ 30  คนในครัวเรือนมีส่วนร่วมทำกิจกรรมสาธารณะของชุมชน  ร้อยละ  100

3.2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนมีความสามัคคี เอื้ออาทรเกื้อกูลซึ่งกันและกัน โดยมีกิจกรรมส่งเสริมความรักความสามัคคี ได้แก่ ธนาคารข้าว มีการจัดสวัสดิการภายในหมู่บ้านช่วยเหลือผู้ยากจน  ด้อยโอกาสและคนที่ประสบปัญหาครบทุกคน

3.3 ร่วมกันจัดทำกลุ่มฌาปนกิจสงเคราะห์ในระดับหมู่บ้าน/ ฌาปนกิจสงเคราะห์กองทุนแม่ของแผ่นดิน

3.4 คนในหมู่บ้านยึดมั่นในคุณธรรม/จริยธรรม  ปฏิบัติตามวัฒนธรรมประเพณีและมารยาทไทย  มี การดำเนินชีวิตด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ไม่โลภ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น รู้รัก สามัคคี

4. การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ทางศาสนา และการอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมของชุมชนให้กับคนในชุมชน

          4.1 หมู่บ้านมีการส่งเสริมการลด ละ เลิก อบายมุข  เป็นหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน

          4.2 เป็นหมู่บ้านรักษาศีล 5 มีการส่งเสริมการเข้าวัดฟังธรรมในวันพระ และวันสำคัญทางศาสนา

          4.3 มีกิจกรรมอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม ดังนี้

                    วิถีชุมชนของบ้านสมสะอาด หมู่ที่ 6

                   การเป็นอยู่ และการทำมาหากินของชาวบ้านสมสะอาด ตำบลนาอุดม อำเภอนิคมคำสร้อย เป็นวิถีชีวิตที่เรียบง่าย พออยู่พอกิน ใช้ชีวิตแบบพอเพียง ทรัพยากรธรรมชาติ ทางน้ำ และดินยังคงอุดมสมบูรณ์อยู่มาก ซึ่งสังเกตได้จากการทำการเกษตร อาชีพหลักคือ การทำนา อาชีพเสริมหลังฤดูเก็บเกี่ยว ได้แก่ ปลูกอ้อย ผักสวนครัว ยางพาราและพืชสวนอื่นๆ ที่ต้องอาศัยดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ ถึงจะเจริญงอกงาม และได้ผลผลิตดี การดำเนินวิถีชีวิตของประชาชนยังคงยึดถือประเพณีโบราณไทยอีสานที่สืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน  รวมทั้งความเชื่อทางพระพุทธศาสนาชาวบ้านให้ความเคารพ เชื่อถือ ศรัทธาผู้นำชุมชน คนแก่เฒ่า พระสงฆ์  ประเพณีสำคัญเช่นสงกรานต์ บุญบั้งไฟ บุญผะเวส (บุญมหาชาติ) เข้าพรรษา  ออกพรรษาเป็นต้น

การทำมาหากิน  ของชาวบ้านในเขตพื้นที่ตำบลนาอุดมทั้ง 12 หมู่บ้าน  เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขตของที่ราบลุ่ม จึงมีความอุดมสมบูรณ์ของปลานานาชนิด  ตามลำดับของตำบลใกล้เคียงและตามหนองน้ำต่างๆ  มากมาย  ซึ่งใช้ประโยชน์ร่วมกันอย่างสันติสุข โดยมีการเรียนรู้โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการทำมาหากิน  ดังต่อไปนี้ การใส่เบ็ดหรือการตกเบ็ด การใส่มอง  (ตาข่ายดักปลา)  การทอดแห  การไล่เยาะ  (พุ่มไม้ดักปลาตามลำน้ำ) การใส่ไซใส่ลอบ

วัฒนธรรม/ประเพณี ได้แก่ การเกิด พิธีบวช การแต่งงาน พิธีการทำศพ การสูตรขวัญ การลงแขก

วิถีชีวิตชุมชนงานประเพณี

          ชาวบ้านสมสะอาด มีวัฒนธรรมและประเพณีอันดีงามจากบรรพบุรุษสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน ทั้งความเชื่อทางพระพุทธศาสนา และวัฒนธรรมที่ปรากฏทางด้านจิตใจยังเป็นไปตามประเพณีดั้งเดิมที่ชาวบ้านเรียก “ ฮีตสิบสอง ครองสิบสี่ ” ซึ่งชาวบ้านยังให้ความเคารพ เชื่อถือ ศรัทธา ผู้นำชุมชน  พระสงฆ์ ครู– อาจารย์  และคนเฒ่าคนแก่ในการจัดพิธีกรรมต่าง ๆ  การจัดงานประเพณี  “ฮีตสิบสอง ครองสิบสี่” เป็นไปตามความเชื่อและยังปฏิบัติกันสืบมาดังนี้ ประเพณีบุญข้าวจี่ ประเพณีสงกรานต์ ประเพณี
บุญบั้งไฟ ประเพณีงานบุญผะเวสและแห่พระ  ประเพณีเดือนแปด ประเพณีเก้าเดือนสิบ ประเพณีบุญเดือน
สิบเอ็ด บุญเดือนสิบสอง

กิจกรรมอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมพื้นบ้าน  จำนวน  ๒  กิจกรรม 

1. กลุ่มอนุรักษ์ดนตรีพื้นบ้านศิลปะเป่าแคน  มีสมาชิก  จำนวน  ๕  คน

1. นาย วิจารณ์   บุญกัณฑ์

2. ด.ช. พีรพล    สุขแพง

3. ด.ช. กันตินันท์  สัญลักษณ์

4. ด.ช. วีรพงษ์   สู่เสน

5. ด.ช. วุฒิชัย    ไชยสิทธิ์

2. กิจกรรมอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมพื้นบ้าน  หมอลำกลอน มีสมาชิก จำนวน ๗ คน

1. นาย วิจารณ์  บุญกัณฑ์

2. นาย จำปา  แสนธาตุ

3. นาย สีนวน   ลูกโม

4. นาย สมพงษ์  หาสุข

5. นาง บรรจง  คนเพียร

6. นาง กอง  วรรณพัฒน์

7. นาง ชม  สามารถ 

5. การส่งเสริมสุขภาพอนามัยของคนในชุมชน

          ส่งเสริมและสนับสนุนให้ อสม. เป็นองค์กรหลักในการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของชุมชน ดังนี้

5.1 มีการตรวจสุขภาพ ให้แก่ประชากรในหมู่บ้าน   เช่น   การตรวจโรคเบาหวานความดัน และชั่งน้ำหนักเด็กแรกเกิดถึง 6  ปี  ทุก  3 เดือน โดยมี อสม. เป็นแกนนำในการดำเนินงาน

5.2 ส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ เช่น การเต้นแอโรบิค เพื่อให้คนในชุมชนแข็งแรง มีสุขภาพดีถ้วนทั่ว

5.3 รณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคไข้เลือดออก ไข้หวัดนก การป้องกันโรคเอดส์ และการจัดทำความสะอาดบริเวณ ห้องน้ำ ห้องครัว และห้องนอน (3 ห)0 รวมทั้งภาชนะต่างๆ  

ที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆ

6. การอนุรักษ์ทรัพยากรทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน   

6.1 ครัวเรือนมีกิจกรรมส่งเสริมการลดการใช้พลังงาน ได้แก่ การใช้รถจักรยาน การใช้หลอดประหยัดพลังงาน

6.2 อนุรักษ์ป่าชุมชนในหมู่บ้าน มีการออกกฎระเบียบหมู่บ้าน ไม่ให้มีการตัดไม้ทำลายป่า รอบปีที่ผ่านมาได้รณรงค์การปลูกต้นไม้

6.3 มีแผนการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นรูปธรรม

6.4 รณรงค์ให้กลุ่มองค์กร ประชาชนในหมู่บ้านช่วยกันดูแลรักษาแหล่งน้ำธรรมชาติให้สะอาดและใช้ได้ตลอดปี

6.5 สนับสนุนให้ชาวบ้านมีการจัดระเบียบชุมชน  เช่น รณรงค์การทำความสะอาด กำจัดขยะมูลฝอยในหมู่บ้าน การรักษาความสะอาด ปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในหมู่บ้าน การแบ่งเขตการปกครองออกเป็นคุ้มจำนวน  6   คุ้ม  ดังนี้ คุ้มศูนย์พัฒนา, คุ้มสุขสำราญ, คุ้มแสงจันทร์, คุ้มบูรพา, คุ้มวงเดือน, คุ้มจันทรา

7. การพัฒนาในชุมชน มีการจัดตั้งกลุ่ม และกิจกรรมมีความสอดคล้องและเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน ดังนี้

1. กลุ่มข้าวอินทรีย์บ้านสมสะอาด 

2. กลุ่มเลี้ยงจิ้งหรีด

3. กลุ่มสานตะกร้าพลาสติก

4. กลุ่มถักกระเป๋าเชือกร่ม

5. กลุ่มธนาคารข้าว

6. กลุ่มออมทรัพย์สตรี

7. กลุ่มไถกลบตอซัง

8. กลุ่มปลูกผัก

9. กลุ่มพืชผักสมุนไพร

10. กลุ่มเลี้ยงโค/กระบือ

11. กลุ่มจักสานไม้ไผ่

8. การเสริมสร้างความมั่นคงและปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

          8.1 มีกิจกรรมรณรงค์และแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็นหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน

          8.2 มีการจัดเวรยามรักษาความปลอดภัยในหมู่บ้าน 

9. การพัฒนาเด็ก เยาวชน สตรี และผู้ด้อยโอกาส

          9.1 ส่งเสริมเยาวชนเล่นกีฬาต้านยาเสพติด สนับสนุนทุนการศึกษา สนับสนุนการดำเนินงานองค์กรสตรี

          9.2 หมู่บ้านมีการจัดสวัสดิการชุมชน ได้แก่ สนับสนุนทุนการศึกษา

          9.3 องค์กรสตรีในหมู่บ้านมีความเข้มแข็ง

กิจกรรมด้านการเพิ่มรายได้

1. กลุ่มข้าวอินทรีย์บ้านสมสะอาด 

1. นาย บัวไข  สัญลักษณ์          ประธาน

2. นาง มุก   มาลาสาย             สมาชิก

3. นางใคร    โสภา                 สมาชิก

4. นางสมอน  ทาระขจัด           สมาชิก

5. นายเฉลิม   สีแล็ง                สมาชิก

2. กลุ่มเลี้ยงจิ้งหรีด

1. นาย วิจารณ์    บุญกัณฑ์       ประธาน

2.  นาง  จันทร์    แหล่งสนาม    รองประธาน

3.  นาง ใจโสภิส   สุวรรณเพชร   เลขานุการ

4.  นาย มอญ   สุวรรณเพชร     ปฏิคม

5.  นาง สำเนียง   สุวรรณเพชร   เหรัญญิก

6.  นางลำไย    ศรีหล้า              สมาชิก

7.  นาย บุญมี   ต้นโพธิ์             สมาชิก

8.  นาง บุญชิด   บุรมย์              สมาชิก

9. นาง วิลัย     สามารถ             สมาชิก

10. นาง หนูจันทร์   สันลักษณ์    สมาชิก

3. กลุ่มสานตะกร้าพลาสติก

1. นาง  คำพันธ์    ไขแสง      ประธาน

2. นาง นวล     เดชสุวรรณ

3. นาง  เตือนใจ   เดชโฮม

4. นาง มุก    มาลาสาย

5. นาง หนูจันทร์    สันลักษณ์

6. นาง หนูพิษ    สัญลักษณ์

7. นาง วิจิร  โภชณา

8. นาง ปราณี   ต้นจันทน์

9. นาง มาลา   เทือกทา

10. นาง หนูพิน     กะณาลักษ์

4. กลุ่มถักกระเป๋าเชือกร่ม

1. นาง ใจโสภิส   สุวรรณเพชร

2. นางศิริลักษณ์    สัญลักษณ์

3. นาง หนูแปลง   ไชโยธา              

4. บังอร    คลองบุญ 

5. นาง ผ่องศรี   รูปไข่   

5. กลุ่มธนาคารข้าว

คณะกรรมการมีดังนี้

1. นายวิจารณ์   บุญกัณฑ์         ประธาน

2. นายสมพงษ์   สุวรรณเพชร      รองประธาน

3. นาย อุดม  ธนะฉันท์            เลขานุการ

4. นาย สุวิช       เดชโฮม         เหรัญญิก

5. นาย พันธ์ศักดิ์    สีวะกูล        ปฏิคม

6. นาย บัวไข   สัญลักษณ์         ประชาสัมพันธ์

7. นาย สนอง   พูลรัตน์            กรรมการ

8. นาย แหลม   สูงขาว            กรรมการ

9. นาย สาหัส   เหมือนนึก         กรรมการ        

10. นาย ทองแดง   คุณมี          กรรมการ 

6. กลุ่มออมทรัพย์สตรี

1. นาง วารี    สุวรรณเพชร        ประธาน

2. นาง นิลาวรรณ  สีวะกูล         รองประธาน

3. นาง ใจโสภิส   สุวรรณเพชร     เลขานุการ

4. นาง หนูพิศ    สัญลักษณ์        เหรัญญิก

5. นาง คำพันธ์    ไขแสง            ประชาสัมพันธ์

6. นาง มุก    มาลาสาย             ปฏิคม

7. นาง  ศิริลักณณ์    สัญลักษณ์    กรรมการ

8. นาง ไพฑูรย์   คุณมี             กรรมการ

9. นาง สำเนียง   สุวรรณเพชร      กรรมการ

10. นางสุบรร     ศรีมาต           กรรมการ

11. นาง เหรียญทอง   บุญกัณฑ์    กรรมการ

12. นาง อรทัย    ชูรัตน์             กรรมการ

13. นาง วิไลวรรณ   ธะนะวิโรจน์   กรรมการ

14. นาง หนูพิน   กะณาลักษ์        กรรมการ

15. นาง บุญเพ็ง   เสวะนาม         กรรมการ   

7. กลุ่มไถกลบตอซัง

1. นาย วิจิตร   คุณพูล             ประธาน

2. นาย วิจารณ์   บุญกัณฑ์        รองประธาน

3. นาย อุดม   ธนะฉันท์           เลขานุการ

4. นาย มอญ   สุวรรณเพชร       เหรัญญิก

5. นาง จันทร์   แหล่งสนาม       ปฏิคม

6. นาย สุวิช   เดชโฮม              ประชาสัมพันธ์

7. นาย พันธ์ศักดิ์    สีวะกูล        กรรมการ

8. กลุ่มปลูกผัก

1. นาง บังอร   สุวรรณเพชร       ประธาน

2. นาง ทองย้อย   สุวรรณศรี      รองประธาน

3. นาง เหรียญทอง   บุญกัณฑ์   เลขานุการ

4. นาง ผ่องศรี   รูปไข่               เหรัญญิก

5. นาง อำพร   สุวรรณโค                   ปฏิคม

6. นายสมาน    พิจารณ์             ประชาสัมพันธ์

9. กลุ่มพืชผักสมุนไพร

1. นาย มอญ   สุวรรณเพชร

2. นาย วิจารณ์    บุญกัณฑ์

3. นาง อุไร     ทองสุกใส

4. นาง บัวกัน    ก่อทอง

5. นาง หนูจันทร์    สันลักษณ์

6. นาง กรมใบ   น้อยทรงพันธ์

10. กลุ่มเลี้ยงโค/กระบือ

รายชื่อผู้เลี้ยง โค/กระบือ ปี 58

ลำดับ

ชื่อ  -  สกุล

จำนวนตัว

1

นาย ธงเอกทวี         โคตนนท์

1

2

นาง หนูพิน              กะณารักษ์

1

3

นาย ประนงไพร       เสวะนาม

1

4

นาง คำพันธ์            ไขแสง

1

5

นาย ประยูร             สุวรรณเพชร

1

6

นาง ยุภา                 เหล่าจันทร์

1

7

นาง กองมี               ต้นโพธิ์

1

8

นาง บังอร                 สุวรรณเพชร

1

9

นาง ลวน                  สีวะกูล

1

10

นาย ค้อม                  สีแล็ง

1

11

นาย อุดม                  โสภา

1

12

นาง มาลา                เทือกทา

1

13

นายจันมา               ชูกลิ่น

1

14

นาย อุทัย                พิจารย์

1

15

นาง อุไร                  ทองสุขใส

1

16

นาง ถนอม              ฉิมพลี

1

17

นาย ประเทือง          เหมือนนึก

1

18

นาย สุวิช                  เดชโฮม

1

19

นาย นิโรจน์               สุดชา

1

20

นาง นารี                    อุคำ

1

21

นาง คำริท                 ปัตไตร

1

22

นาง คำพอง               แสงตะวัน

1

    

รายชื่อผู้เลี้ยง /กระบือ

ลำดับ

ชื่อ -  สกุล

จำนวนตัว

1

นาย ไพวัน            บุพกิจ

1

2

นาย สาหัส            เหมือนนึก

1

3

นาย จันทร์             มาลุน

2

4

นาย เริ่ม                สุวรรณศรี

1

5

นาย บัวไข             สัญลักษณ์

1

6

นาย บุญยืน           ศรีวะวงค์

1

11. กลุ่มจักสานไม้ไผ่

1. นาย สุวิช     เดชโฮม           ประธาน

2. นาย ถิน       ไชโยธา           รองประธาน

3. นาย สงวน    สัญลักษณ์        เลขานุการ

4. นาย สีนวน   ลูกโม              รองเลขานุการ

5. นาย บุญมี    ต้นโพธิ์            เหรัญญิก

6. นาย เลียน    สัญลักษณ์        รองเหรัญญิก

7. นาย เดือน    สีแล็ง             กรรมการ

8. นาย สมบัตร  วรรณบุรี          กรรมการ 

9. นายจำปา      แสนธาตุ         กรรมการ    

หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “มั่งมี  ศรีสุข” ประจำปี 2555

อำเภอนิคมคำสร้อย    จังหวัดมุกดาหาร

------------------------------------------

    ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน

                    นับย้อนหลังไปเมื่อ  72 ปี   บ้านด่านมน  ก่อตั้งเมื่อประมาณ พ.ศ. 2480  ได้อพยพย้ายมาจากบ้านบะ หมู่ที่ 5  ตำบลกกแดง(ปัจจุบัน)  โดยมีครอบครัว  4   ครอบครัว  ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐาน  บ้านเรือนอาศัยตามที่ทำกินของตนเอง   และมีสมาชิกในครอบครัวทั้งหมด  20  คน   ประกอบด้วยครอบครัวของ  นายแสง หนองแคน   นายสุข  แก้วดี   นายพิม  รีฮุง  และนายเพียง  รีฮุง 

                    บุคคลที่ตั้งชื่อหมู่บ้านคนแรก คือ นายแสง  หนองแคน  ซึ่งตั้งชื่อหมู่บ้านตามสภาพแวดล้อมของพื้นที่ เนื่องจากสภาพพื้นที่เป็นหินดานบนภูเขา ที่มีบริเวณไม่กว้างนัก และอยู่เขตแนวเดียวกัน  จึงได้ตั้งชื่อหมู่บ้านครั้งแรกว่า “บ้านดานมน”   ซึ่งอยู่ในเขตการปกครองของ หมู่ที่ 16   ตำบล นากอก อำเภอมุกดาหาร จังหวัดนครพนม

                    ต่อมาทางราชการได้เข้ามาก่อตั้งโรงเรียนระดับชั้นประถมศึกษาขึ้นภายในหมู่บ้าน โดยมีครูคนแรก   ชื่อ   นายประเทือง   อบทอง  (ปัจจุบันยังมีชีวิตอยู่   ณ   บ้านเค็งใหญ่   ตำบลเค็งใหญ่   อำเภอหัวตะพาน   จังหวัดอำนาจเจริญ)   ได้เปลี่ยนชื่อหมู่บ้านเป็น “บ้านด่านมน” ตามหลักภาษาของทางราชการ และได้ใช้ชื่อหมู่บ้านนี้จนถึงปัจจุบัน

                    ทำเนียบผู้ใหญ่บ้านปกครองหมู่บ้านตามลำดับ  ดังนี้

                    1.   นายแสง       หนองแคน     ดำรงตำแหน่ง  ปี  พ.ศ. 2489 - 2498

                    2.   นายบัวลี      หนองแคน      ดำรงตำแหน่ง  ปี  พ.ศ. 2498 – 2507

                    3.   นายมวน      อุคำ             ดำรงตำแหน่ง  ปี  พ.ศ. 2507 – 2507

                    4.   นายวันดี      ยืนยง           ดำรงตำแหน่ง  ปี  พ.ศ. 2507 – 2522

                    5.   นายบัวลี      หนองแคน      ดำรงตำแหน่ง  ปี  พ.ศ. 2522 – 2537

                    6.   นายทวี         เห็มภัณฑ์      ดำรงตำแหน่ง  ปี  พ.ศ. 2537 – 2542

                    7.   นายประเสริฐ   คำนนท์       ดำรงตำแหน่ง  ปี  พ.ศ. 2522 – 2542

                    8.   นายประกาศิต  ยืนยง         ดำรงตำแหน่ง  ปี  พ.ศ. 2547 – 2552

                   9.  นายประสิทธิ์ วรนุช            ดำรงตำแหน่ง ปี พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน

คณะกรรมการหมู่บ้านด่านมน  ดังนี้

                   1.  นายประสิทธิ์ วรนุช            ประธานคณะกรรมการ

                   2.  นายปราโมทย์ คำนนท์         รองประธานฯ

                   3.  นายอำนวย สุริยกมล           รองประธานฯ

                   4.  นายบัวลี หนองแคน            หัวหน้าคุ้มตะวันยอแสง

                   5.  นายขาว หนองแคน            หัวหน้าคุ้มตะวันสีทอง

                   6.  นายเลื่อน  เสนา                หัวหน้าคุ้มตะวันเจิดจ้า

                   7.  นายอวน  คำนนท์              หัวหน้าคุ้มตะวันลับฟ้า

                   8.  นายประกาศิต  ยืนยง          กรรมการ

                   9.  นายคำพัน  ยืนยง              กรรมการ

                   10. นายสุวิทย์  หนองแคน         กรรมการ

                   11. นายวันนา  หนองแคน         กรรมการ

                   12. นายบุญมา  วงศ์บุดดี          กรรมการ

                   13. นายมี  วงศ์บุดดี                กรรมการ

ข้อมูลทั่วไป

1.  ครัวเรือนทั้งหมด  80  ครัวเรือน  ประชากร  353   คน  แยกเป็นชาย  210  คน  หญิง  143  คน  คนพิการในหมู่บ้าน  9   คน

2.  แหล่งน้ำที่ยังใช้ประโยชน์ได้ ดังนี้

                          บ่อน้ำตื้น 4  บ่อ,  บ่อน้ำบาดาล  2  บ่อ, ประปาหมู่บ้าน 1 แห่ง,แหล่งน้ำผิวดิน จำนวน 1  แห่ง  คือ  ห้วยขี้เหล็ก ซึ่งมีน้ำตลอดปี

3. บริหารสาธารณะในหมู่บ้าน

                          - โรงเรียนประถมศึกษา     1   แห่ง

                         -  วัด                            1    แห่ง

                         -  โทรศัพท์สาธารณะ        1   แห่ง

                          -  ลานกีฬา  / สนามกีฬา   2   แห่ง

                          - ศาลาอเนกประสงค์        1   แห่ง

                         -  ศูนย์สาธิตการตลาด       1   แห่ง

4.  ครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้     80    ครัวเรือน    

5.  ครัวเรือนที่โทรศัพท์เคลื่อนที่ (มือถือ)    75   ครัวเรือน

6.  การคมนาคม

                           - ระยะห่างจากที่ตั้งอำเภอ  8  กิโลเมตร

                                     ถนนลาดยาง  6  กิโลเมตร 

                                     ถนนลูกรัง     2   กิโลเมตร

                            - รถโดยสารประจำทาง  หรือรถรับจ้างในหมู่บ้าน  ไม่มี

7. ร้านค้าในหมู่บ้าน

                           -  ร้านค้าชุมชน/ศูนย์สาธิตการตลาด 1  แห่ง  ปัจจุบันมีสมาชิก 92  คน ทุนดำเนินการ  300,000  บาท

                            -  ร้านค้าเอกชน  1   แห่ง

8. ครัวเรือนประกอบอาชีพในการเพาะปลูก 80   ครัวเรือน  ได้แก่ ข้าว,อ้อย,ยางพารา

                    9. โรงสีข้าวในหมู่บ้าน   4    แห่ง

                  10. ครัวเรือนเลี้ยงสัตว์เพื่อจำหน่ายและใช้เป็นอาหาร ได้แก่ ไก่พื้นเมือง,โค,กระบือ,เป็ด,สุกร  

ลักษณะภูมิประเทศและที่ตั้งของหมู่บ้าน 

                 บ้านด่านมน  ลักษณะเป็นพื้นที่ราบลุ่ม   มีสภาพภูมิอากาศ  3  ฤดู   อากาศร้อนชื้น  พื้นที่ตั้งหมู่บ้านติดแหล่งน้ำชลประทานห้วยขี้เหล็กเกือบล้อมรอบเหลือเพียงทิศใต้เท่านั้นที่ติดกับวนอุทยานภูหมู  อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลนิคมคำสร้อย  พื้นที่ส่วนมากทำการเกษตร  มีป่าชุมชนที่อุดมสมบูรณ์  มีพื้นที่  200 ไร่  

                 ทิศเหนือ             ติดต่อกับ         อ่างเก็บน้ำห้วยขี้เหล็ก

                 ทิศใต้                ติดต่อกับ         วนอุทยานภูหมู

                 ทิศตะวันออก        ติดต่อกับ         อ่างเก็บน้ำห้วยขี้เหล็ก 

                 ทิศตะวันตก         ติดต่อกับ         อ่างเก็บน้ำห้วยขี้เหล็ก

ขนาดพื้นที่

                    พื้นที่ทั้งหมดของหมู่บ้าน            จำนวน  1,180  ไร่

          พื้นที่อยู่อาศัย              จำนวน       40  ไร่

          พื้นที่ทำการเกษตร        จำนวน     933  ไร่

          พื้นที่อื่นๆ (ป่าชุมชน)      จำนวน     200  ไร่

สภาพทางสังคม

                 บ้านด่านมน  ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นเป็นภาษาภูไท  ร้อยละ  80  เป็นหมู่บ้านที่ตั้งอยู่ในเขตความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลนิคมคำสร้อย   นับถือศาสนาพุทธ  และมีการดำเนินชีวิตตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทยอีสานฮีตสิบสองครองสิบสี่   มีงานบุญประจำปีที่ยิ่งใหญ่ คือ งานบุญบั้งไฟแสน  และยังคงสืบทอดภูมิปัญญาและวัฒนธรรมประเพณีไทยอย่างต่อเนื่อง  มีวัดศิลาวิเวกซึ่งเป็นวัดที่มีความร่มรื่นและใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีสำคัญทางศาสนาและเป็นศูนย์รวมใจของชาวบ้านในการทำกิจกรรมต่างๆ ในชุมชน

สภาพทางเศรษฐกิจ

                 q  การประกอบอาชีพ

                      อาชีพหลัก   คือ  เกษตรกรรม (ทำนา ทำไร่)

                     อาชีพเสริม  คือ  แปรรูปอาหาร, สานตะกร้าพลาสติก,จักสานไม้ไผ่, ประมง, ปศุสัตว์, ปลูกพืชผักสวนครัว, ค้าขายและรับจ้าง

                q  ข้อมูลรายได้

                          จากการสำรวจข้อมูล  จปฐ. ปี 2554  มีรายได้เฉลี่ยคนละ  51,313  บาทต่อปี  

                 q  ผลิตภัณฑ์ชุมชน

ผลิตชุมชนดีเด่น(OTOP) ของหมู่บ้าน คือ ไข่เค็มพอกเสริมไอโอดีน ได้รับการคัดสรร

หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย(นตผ.) ปี 2547  ระดับ  4  ดาว,  ปี 2549  ระดับ  4  ดาว,  ปี 2552  ระดับ  4  ดาว และปี 2553  ระดับ 5 ดาว

การดำเนินงานขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง    ตามเกณฑ์ตัวชี้วัด  6x2  ซึ่งบ้านด่านมน

ได้ดำเนินการ ดังนี้

บ้านด่านมน  ได้ใช้กระบวนการพึ่งพาตนเองเป็นแนวทางในการพัฒนาหมู่บ้าน  ซึ่งเป็นแนวทางที่ได้ยึดถือเอามาเป็นแบบอย่าง  โดยดูจากกิจกรรมที่มีอยู่ในชุมชนที่ยังดำเนินการอยู่อย่างต่อเนื่อง  เพื่อช่วยกันแก้ไขปัญหาของตนโดยเฉพาะปัญหาความยากจน

กระบวนการแก้ไขปัญหาของชาวบ้านด่านมนจะดำเนินการในรูปของกลุ่ม  เช่น  กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต,  ศูนย์สาธิตการตลาด, กลุ่มสานตะกร้าพลาสติก, ฯลฯ  ซึ่งเป็นกลุ่มที่ชุมชนดำเนินการเองทั้งหมด นอกจากนั้นยังได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานราชการ, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและดำเนินการของชุมชน  ซึ่งมีกิจกรรมการจัดทำแผนชุมชนเพื่อการพึ่งตนเองในชุมชน  นำกิจกรรมตามแผนชุมชนหรือกิจกรรมนำไปปฏิบัติตามมติเวทีประชาคมหมู่บ้าน  เพื่อดำเนินการแก้ไขปัญหาของชุมชน

1. กิจกรรมด้านการลดรายจ่าย

                   บ้านด่านมน  ได้น้อมนำพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาใช้ในการดำเนินชีวิตและดำเนินงานในหมู่บ้าน  ได้ยึดหลักแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง  ลดรายจ่าย  เพิ่มรายได้โดยมีกิจกรรม  ดังนี้

                   1.1  หมู่บ้านด่านมนได้ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้เพื่อบริโภคทุกครัวเรือน 
บางครัวเรือนปลูกไว้ที่หัวไร่ปลายนา  และทุกครัวเรือนมีการออมกับกลุ่มกองทุนที่ตั้งขึ้นในหมู่บ้าน  ประหยัดรายจ่าย

                   1.2 ส่งเสริมการปลูกไผ่เลี้ยงเพื่อบริโภคทุกครัวเรือน

                   1.3  ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ปุ๋ยหมักที่ทำจากพืชสดและปุ๋ยอินทรีย์ที่ประชาชนผลิตขึ้นเอง  เพื่อลดรายจ่ายจากการซื้อปุ๋ยเคมี  อีกทั้งรณรงค์การใช้ปุ๋ยคอก มูลสัตว์ใช้ในนาข้าวเพื่อเพิ่มผลผลิตการเกษตร  ลดการซื้อปุ๋ยเคมีซึ่งปัจจุบันมีราคาแพงมาก

                   1.4  ครัวเรือนในหมู่บ้านมีการใช้พันธุ์พืช  พันธุ์สัตว์ที่ทางราชการส่งเสริม  เช่น  การเลี้ยงโค  จำนวน  70  ครัวเรือน  ซึ่งทางหมู่บ้านได้รับงบประมาณจากโครงการ “อยู่ดี มีสุข”  งบประมาณ  150,000  บาท

                   1.5 ส่งเสริมการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่, ไก่พื้นบ้าน, ปลา, เป็ด, สุกร และกบ

2.  กิจกรรมด้านการเพิ่มรายได้

2.1  กลุ่มไข่เค็มเสริมไอโอดีน

กลุ่มอาชีพไข่เค็มเสริมไอโอดีน ได้ก่อตั้งเนื่องจาก บ้านด่านมน เป็นหมู่บ้านที่ตั้งอยู่ติดกับ

อ่างเก็บน้ำห้วยขี้เหล็ก ซึ่งเป็นอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ที่สุดในอำเภอ ชาวบ้านมีอาชีพเสริม โดยการเลี้ยงเป็ดพันธุ์ไข่  ต่อมาไข่ราคาตกต่ำ จึงได้รวมกลุ่มแม่บ้านจัดตั้งกลุ่มเพื่อเป็นการแปรรูปอาหารขึ้น  เมื่อปี  พ.ศ. 2544  เงินทุนหมุนเวียน 170,000  บาท  เพื่อเป็นการแปรรูปและถนอมอาหาร  เป็นไข่เค็มเสริมไอโอดีน  เพื่อบริโภคในครัวเรือน ของสมาชิกกลุ่ม  และจำหน่ายทำรายได้ให้กับสมาชิกกลุ่มเป็นอย่างมาก  ปัจจุบัน

มีสมาชิกทั้งหมด  14  คน  ได้เข้ารับการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย (นตผ.)  ดังนี้

                             ปี พ.ศ. 2547    ได้รับการคัดสรรผลิตภัณฑ์          ระดับ  4  ดาว 

                             ปี พ.ศ. 2549    ได้รับการคัดสรรผลิตภัณฑ์          ระดับ  4  ดาว 

                             ปี พ.ศ. 2552    ได้รับการคัดสรรผลิตภัณฑ์          ระดับ  4  ดาว

                             ปี พ.ศ. 2553    ได้รับการคัดสรรผลิตภัณฑ์         ระดับ  5 ดาว

 

รายชื่อคณะกรรมการกลุ่มไข่เค็มเสริมไอโอดีน  ประกอบด้วย

                             1. นางหนูเรียม  คำนนท์                    ตำแหน่งประธาน

                             2. นางนารี       ยืนยง            ตำแหน่งรองประธาน

                             3. นางสายฝน   คำเพชร           ตำแหน่งเลขานุการ

                             4. นางจันทร์หอม   คำนนท์        ตำแหน่งเหรัญญิก

                             5. นางบ่อแก้ว   ยืนยง             ตำแหน่งประชาสัมพันธ์

                             6. นางสำราญ   จนุบุษย์           ตำแหน่งสมาชิก

                             7. นางเพชร      หนองแคน        ตำแหน่งสมาชิก

                      8. นางหล้า   วรนุช             ตำแหน่ง  สมาชิก                                9. นางบุญเลย    หนองแคน          ตำแหน่งสมาชิก

                            10. นางเมือง      วงค์ฝ่ายแดง     ตำแหน่งสมาชิก

                            11. นางคำ         อุปัญย์          ตำแหน่งสมาชิก

                            12. นางนาถ     รีฮุง              ตำแหน่งสมาชิก

                            13. นางยอม       เสนา            ตำแหน่งสมาชิก

                            14. นางแพง      แก้วดี            ตำแหน่ง สมาชิก

            2.2 กลุ่มเลี้ยงเป็ดพันธุ์ไข่

เริ่มจัดตั้ง เมื่อพ.ศ. 2540     เงินทุนหมุนเวียน  10,000  บาท  สมาชิกปัจจุบัน จำนวน 17  คน   

            รายชื่อคณะกรรมการกลุ่มเลี้ยงเป็ดพันธ์ไข่  ประกอบด้วย

                          1. นายปราโมทย์  คำนนท์            ประธาน

                          2. นายตอม  อุคำ                      รองประธาน

                          3. นางยอม  เสนา                     กรรมการ

                          4. นางแพง  แก้วดี                     กรรมการ

                           5. นางจันทร์หอม  คำนนท์           เหรัญญิก

                          6. นายประกาศิต  ยืนยง              สมาชิก

                          7. นางเพชร  หนองแคน              สมาชิก

                          8. นางสมคิด  รีฮุง                     สมาชิก

                               9. นางนาถ  รีฮุง                           สมาชิก

                       10. นางล้อม  สมตน                    สมาชิก

                             11. นางสายฝน  คำเพชร          สมาชิก

 

             2.3 กลุ่มเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่

          เริ่มจัดตั้งเมื่อปี  พ.ศ.  2553  เงินทุนหมุนเวียน  18,400  บาท  สมาชิกปัจจุบัน  จำนวน  26 คน

รายชื่อคณะกรรมการ กลุ่มเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ ประกอบด้วย

          1.  นายวันนา หนองแคน                    ประธาน

          2.  นายไพโรจน์ คำนนท์                     รองประธาน

          3.  นางปิ่นแก้ว คำนนท์                      กรรมการ

          4.  นางขวัญตา เฟื่องฟู                       กรรมการ

          5.  นายไสว สุวะศรี                          กรรมการ

          6.  นางสาวประภาพร คำนนท์              เลขานุการ

          7.  นายสุเทพ รีฮุง                            เหรัญญิก 

            2.4 กลุ่มอาชีพหัตถกรรมพื้นบ้าน

เริ่มก่อตั้งเมื่อวันที่ 28  มิถุนายน 2539 โดยมีเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนเข้ามาฝึกอบรมการ

จักสานกะติบข้าว,  หวด จากไม้ไผ่ มีสมาชิกจำนวน 27  คน งบประมาณ  14,000  บาท ให้สมาชิกกู้ยืมเงินทุนของกลุ่มไปผลิตเองแล้วนำไปขาย  เมื่อครบกำหนดจะต้องนำเงินต้นส่งคืนพร้อมดอกเบี้ยร้อยละ

1 บาท/เดือน  กลุ่มมีการดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่อง  ปัจจุบันมีเงินทุน  36,000 บาท  สมาชิกกู้ยืม 11 คน

                   รายชื่อคณะกรรมการกลุ่มอาชีพหัตถกรรมพื้นบ้าน(จักสาน) ประกอบด้วย

                             1. นายฝอย   รีฮุง                             ประธาน

                             2. นายสุภา   รีฮุง                             รองประธาน

                             3. นายอวน   คำนนท์                        เลขานุการ

                             4. นายพาดี   ยืนยง                         เหรัญญิก

                             5. นายประเสริฐทรัพย์ คำนนท์             กรรมการ

                             6. นายปราโมทย์ คำนนท์                   กรรมการ

2.5  กลุ่มสานตะกร้าพลาสติก  

เริ่มแรกได้รับการสนับสนุนการฝึกอบรมให้กับสมาชิกจากสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ

นิคมคำสร้อย  ซึ่งเป็นงบพัฒนาจังหวัด ปี พ.ศ. 2546  งบประมาณ  150,000  บาท  ต่อมาได้จัดตั้งกลุ่มสานตะกร้าพลาสติกปี พ.ศ.2551  โดยได้รับงบประมาณจาก อบต.นิคมคำสร้อย     จำนวน  10,000  บาท  สมาชิกปัจจุบัน 19 คน

รายชื่อคณะกรรมการกลุ่ม  ประกอบด้วย

                             1. นางมาลา               เหมกัณฑ์         ประธาน

                             2. นางสมคิด               รีฮุง               รองประธาน

                             3. นางประพัตรา          วงค์บุดดี           เลขานุการ

                             4. นางอ่อนตา             รุ่งโรจน์           เหรัญญิก

                             5. นางหล้า                วรนุช             กรรมการ

                             6. นางสายฝน             คำเพชร           กรรมการ

           7. นางวาสนา            หนองแคน        กรรมการ

                             8. นางนาง                 พรมนาค          สมาชิก

                             9. นางสมร                แก้วดี             สมาชิก

                             10. นางสุพัตรา           ยืนยง             สมาชิก

                             11. นางกิ่งแก้ว            ศรีสวัสดิ์           สมาชิก

                             12. นางฉวี                อุปัญ              สมาชิก

                             13. นางราตรี             สุวะศรี            สมาชิก

                             14. นางนารี               ยืนยง             สมาชิก

                             15. นางหนูเรียม          คำนนท์           สมาชิก

                             16. นางขวัญตา           ประกอบสุข      สมาชิก

                             17. นางทองสวรรค์       พิรมาตย์          สมาชิก

                             18. นางเทพสุวรรณ       สังเกต            สมาชิก

                             19. นางบ่อแก้ว           ยืนยง             สมาชิก

3.   กิจกรรมด้านการออม

3.1  กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

- จัดตั้งเมื่อวันที่       2  กันยายน  2539

- มีเงินสัจจะรายเดือน   1,500  บาท/เดือน

- สมาชิก       จำนวน  106      คน

- ปัจจุบันมีเงินสัจจะ  254,038   บาท

กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ได้นำเงินของกลุ่มออมทรัพย์  ขยายกิจกรรมเครือข่าย จำนวน 3  กิจกรรม ดังนี้

1. ศูนย์สาธิตการตลาด  เริ่มก่อตั้งเมื่อปี  พ.ศ. 2539   มีสมาชิกปัจจุบัน จำนวน   92   คน   เงินทุนหมุนเวียน  964,000  บาท

  1. ปั๊มน้ำมัน  เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2546  เงินทุนหมุนเวียนเป็นเงินทุนที่ได้อยู่ในกิจกรรม

ศูนย์สาธิตการตลาด  จำนวน  400,000  บาท

3. ธนาคารข้าวเริ่มจัดตั้งปี พ.ศ. 2530  มีสมาชิก 80   คน (ทุกครัวเรือน)  มีข้าวจำนวน  ทั้งหมด  3,128  กิโลกรัม  สมาชิกกู้ยืมไปบริโภคในครัวเรือน  เมื่อครบ 1 ปี  สมาชิกจะต้องส่งคืนทั้งต้นและดอกเบี้ย  เช่น  ยืมข้าว  120  กิโลกรัม  ต่อ 12  กิโลกรัม  

    คณะกรรมการบริหารงาน  ทั้ง  3  กิจกรรม จำนวน  1  ชุด  15  คน ระยะเวลาการ

บริหารงาน 6  เดือน โดยมีการคัดเลือกเปลี่ยนคณะกรรมการออกกึ่งหนึ่ง  ซึ่งมีการระบบบริหารงาน  4  ฝ่าย 

                      รายชื่อคณะกรรมการบริหาร  ประกอบด้วย

1.  นายประสิทธิ์  วรนุช           ประธาน

                             2.  นายอำนวย  สุริยกมล          รองประธาน

                             3.  นายสมหมาย  เสนา            เหรัญญิก

                             4.  นางจรุงจิตร์  หนองแคน       เลขานุการ

          5.  นางสาวมนัสชนก  คำนนท์    กรรมการ

                             6.  นายคำพันธ์  ยืนยง             กรรมการ

                             7.  นางปิ่นแก้ว  คำนนท์           กรรมการ

                             8.  นางเพชร  หนองแคน           กรรมการ

                             9.  นางเทพสุวรรณ  เสนา          กรรมการ

                             10.  นายพาดี  ยืนยง               กรรมการ

คณะกรรมการฝ่ายอำนวยการ   นายประสิทธิ์  วรนุช,นายอำนวย  สุริยกมล,นายประเสริฐทรัพย์ คำนนท์,

                                      นางสายฝน  คำเพชร,นางนารี  ยืน ยง,นายสุภา  รีฮุง

คณะกรรมการฝ่ายตรวจสอบ    นายคำพันธ์  ยืนยง, นางเพชร  หนองแคน,นางเทพสุวรรณ  เสนา

คณะกรรมการฝ่ายเงินกู้             นายสมหมาย  เสนา,นางจรุงจิตร์  หนองแคน,นางปิ่นแก้ว  คำนนท์  

คณะกรรมการฝ่ายส่งเสริม        นายพาดี  ยืนยง,นางสาวมนัสชนก  คำนนท์,นางหนูเรียม  คำนนท์       

การจัดสรรผลประโยชน์

-                   คณะกรรมการ  30 %

-                   ปันผลให้สมาชิก  40%

-                   ผู้ขาย             30%

3.2  โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน 

         บ้านด่านมน  ได้รับงบจัดสรรเป็นเงินทุนหมุนเวียน เมื่อวันที่ 15  มกราคม  2538  จำนวน  280,000  บาท  ครัวเรือนเป้าหมายทั้งหมด  80  ครัวเรือน  ครัวเรือนยากจนเป้าหมายกู้ยืม  จำนวน 56  ราย

        รายชื่อคณะกรรมการบริหารโครงการ กข.คจ. ประกอบด้วย

1.นายประสิทธิ์  วรนุช             ประธาน

2.นายอวน  คำนนท์                รองประธาน

3.นายอำนวย  สุริยกมล            เหรัญญิก

4.นายสุเทพ  รีฮุง                   เลขานุการ

          5.นายปัน  แข็งแรง                 กรรมการ

6.นายบัว  วงศ์ชาชม                กรรมการ

7.นายคำพัน  ยืนยง                กรรมการ

8.นายเสรี  วงศ์บุดดี                กรรมการ

9.นายจันใด  เหมลา                กรรมการ

                              10.นายสมหมาย  เสนา           กรรมการ

3.3 กองทุนหมู่บ้าน

      ได้รับการจัดสรรงบประมาณจากรัฐบาล จำนวน 1,000,000  บาท  เมื่อปีพ.ศ.2544

และได้รับการประเมินกองทุนหมู่บ้านระดับ  3   จัดสรรเพิ่มอีก  100,000  บาท     และได้กู้เพิ่มจาก
ธ.ก.ส.นิคมคำสร้อย  เพิ่มอีก  1,000,000  บาท  ปัจจุบันมีสมาชิก  94  คน  ในการดำเนินงาน ได้บริหารเงินกองทุน  3 บัญชี

บัญชีที่  1  เงินกองทุนหมู่บ้าน  จำนวน  1,100,000  บาท   

บัญชีที่  2  เงินหุ้น/สัจจะ  จำนวน  2,596  บาท

บัญชีที่  3  เงินขยายวงเงินกองทุนฯ  จำนวน  1,000,000  บาท

               

 

ระเบียบกองทุนหมู่บ้าน  ได้ดำเนินการบริหารจัดการ ดังนี้

                             1.  ค่าตอบแทนคณะกรรมการ               50 %

                             2.  ค่าปันผลให้สมาชิก                        15 %

                             3.  พัฒนาหมู่บ้าน                              5 %

                             4.  ค่าอาหารกลางวันนักเรียน               10 %

                             5.  ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน               10 %

                             6.  สมทบกองทุน                             10 %

คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านด่านมน

1.  นายประสิทธิ์  วรนุช                     ประธาน

2.  นายอวน  คำนนท์                        รองประธาน

3.  นายอำนวย  สุริยกมล                    เหรัญญิก

4.  นายสุเทพ  รีฮุง                           เลขานุการ

5.  นายปัน  แข็งแรง                         กรรมการ

6.  นายบัว  วงศ์ชาชม                        กรรมการ

7.  นายคำพัน  ยืนยง                        กรรมการ

8.  นายเสรี  วงศ์บุดดี                        กรรมการ

9.  นายจันใด  เหมลา                        กรรมการ

                              10.  นายสมหมาย  เสนา                             กรรมการ

                  

3.4  กลุ่มผู้ใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำ

                     เริ่มก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2539  ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกรมการ

พัฒนาชุมชน  จำนวนเงิน  60,000 บาท มีสมาชิกทั้งหมด  56  คน  มีวัตถุประสงค์เพื่อรวมกลุ่มพัฒนาแหล่งน้ำและนำน้ำมาใช้ประโยชน์ในการบริโภค อุปโภค และเพื่อทำการเกษตรให้เกิดรายได้  ปัจจุบันมีเงินทุน  ทุนหมุนเวียน  จำนวน  74,340 บาท

 รายชื่อคณะกรรมการกลุ่มผู้ใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำ  ประกอบด้วย

                             1. นายประสิทธิ์      วรนุช        ประธาน

                             2. นายปราโมทย์      คำนนท์     รองประธาน

                             3. นางเทพสุวรรณ   เสนา          รองประธาน

                             4. นายวิไล              รีฮุง        เลขานุการ

                             5. นายบุญมา          วงศ์บุตรดี   เหรัญญิก

                             6. นายประเสริฐทรัพย์   คำนนท์  ประชาสัมพันธ์

                             7. นายสุภา     รีฮุง                ฝ่ายส่งเสริมอาชีพ

                             8.  นายฮ้อ     ยืนยง               ฝ่ายการตลาด

                             9. นายสลัด     แก้วดี               ฝ่ายบำรุงรักษา

                             10. นายจันใด  เหมลา              ฝ่ายออมทรัพย์ฯ

 

4.   กิจกรรมการดำรงชีวิตของประชาชน

  1. มีการจัดทำแผนชุมชนจากการประชาคมของคนในหมู่บ้าน เพื่อนำแผนไปปฏิบัติ

ตามแผนหมู่บ้าน เสนอโครงการของบประมาณจากองค์การบริหารส่วนตำบลนิคมคำสร้อย มาดำเนินการและจากหน่วยงานราชการอื่นๆ

  1. ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ให้ประชาชนไปใช้สิทธิเลือกตั้งตามการปกครอง

ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขทุกครั้งที่มีการเลือกตั้งทุกระดับ

  1. เป็นหมู่บ้านปลอดยาเสพติด และจัดตั้งผู้ประสานพลังแผ่นดินในหมู่บ้าน 

จำนวน 25 คน รวม  ( 25 ตาสับปะรด )  เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันปัญหายาเสพย์ติด การทะเลาะวิวาท  
เพื่อป้องกันปัญหาทางสังคม  (เป็นหมู่บ้านปลอดยาเสพติดประเภท ก)

  1. มีการตรวจสุขภาพ ให้แก่ประชากรในหมู่บ้าน   เช่น   การตรวจโรคเบาหวาน

ความดัน และชั่งน้ำหนักเด็กแรกเกิดถึง 6  ปี  ทุก  3 เดือน โดยมี อสม.เป็นแกนนำในการดำเนินงาน

  1. ส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ เช่น การเต้นแอโรบิค รำไม้พองผู้สูงอายุ เพื่อให้คนในชุมชนแข็งแรง มีสุขภาพดีถ้วนทั่ว
    1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคไข้เลือดออก   ไข้หวัดนก    การป้องกัน

โรคเอดส์ และการจัดทำความสะอาดบริเวณ  ห้องน้ำ  ห้องครัว  และห้องนอน (3 ห)  รวมทั้งภาชนะต่างๆ  
ที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆ

5.  กิจกรรมการอนุรักษ์และใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  1. สนับสนุนให้ชาวบ้านมีการจัดระเบียบชุมชน  เช่น  การรักษาความสะอาด

ปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในหมู่บ้าน การแบ่งเขตการปกครองออกเป็นคุ้มจำนวน  4   คุ้ม  ดังนี้

คุ้มตะวันยอแสง,   คุ้มตะวันสีทอง,  คุ้มตะวันเจิดจ้า,  คุ้มตะวันลับฟ้า

  1. อสม. รณรงค์การทำความสะอาด กำจัดขยะมูลฝอยในหมู่บ้าน
  2. รอบปีที่ผ่านมาได้รณรงค์การปลูกต้นไม้ ครัวเรือนละ  5   ต้น
  3. อนุรักษ์ป่าชุมชนในหมู่บ้าน มีการออกกฎระเบียบหมู่บ้าน ไม่ให้มีการตัดไม้

ทำลายป่า และแบ่งเขตการหาของป่าในพื้นที่  200  ไร่

  1. มีแผนการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นรูปธรรม
  2. รณรงค์ให้กลุ่มองค์กร ประชาชนในหมู่บ้านช่วยกันดูแลรักษาแหล่งน้ำธรรมชาติ

ให้สะอาดและใช้ได้ตลอดปี เช่น อ่างเก็บน้ำห้วยขี้เหล็ก

6.   กิจกรรมการเอื้ออาทร การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

  1. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนมีความสามัคคี เอื้ออาทรเกื้อกูลซึ่งกันและกัน
  2. ประชาชนมีการเข้าร่วมกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ที่จัดขึ้นโดยพร้อมเพียงกัน
  3. ร่วมกันจัดทำกลุ่มฌาปนกิจสงเคราะห์ในระดับหมู่บ้าน/ฌาปนกิจสงเคราะห์

กองทุนหมู่บ้าน/ฌาปนกิจสงเคราะห์ศูนย์สาธิตการตลาด

 

 กิจกรรมอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมพื้นบ้าน  จำนวน  2  กิจกรรม 

                  1. กลุ่มอนุรักษ์ดนตรีพื้นบ้านศิลปะกลองยาว  มีสมาชิก จำนวน  20  คน   ดังนี้

1. นายวันนา  หนองแคน           ประธาน

2.นายประสิทธิ์  วรนุช             รองประธาน

3.นายปราโมทย์  คำนนท์           กรรมการ

4.นายวิจิต  อุคำ                    กรรมการ

5.นายคำพัน  ยืนยง                กรรมการ

6.นายชื่นใจ  พรมนาค              กรรมการ

7.นายอำนวย  สุริยกมล            กรรมการ

8.นายบุญกอง  ยืนยง               กรรมการ

9.นายบุญทัน  พรมนาค            กรรมการ

10.นายจันใด  เหมลา              สมาชิก

11.นายสายัณย์  รีฮุง               สมาชิก

12.นายพาวง  ยืนยง               สมาชิก

13.นายจุน  จุนบุตร                สมาชิก

14.เด็กชายวันนะ  หนองแคน      สมาชิก

15.เด็กชายศักดิ์สิทธิ์  เหมลา       สมาชิก

16.เด็กชายวิทยา  รีฮุง             สมาชิก

17.เด็กชายศราวุธ  สิมมา           สมาชิก

18.นายประเสริฐทรัพย์  คำนนท์   สมาชิก

19.นายบัว  วงค์ชาชม               สมาชิก

20.เด็กชายเตย  คำนนท์            สมาชิก

 2. กลุ่มอนุรักษ์ดนตรีพื้นบ้านภูมิปัญญาท้องถิ่น(พินแคนแดนอีสานด่านมน) 

       เป็นกลุ่มผู้สูงอายุ  มีสมาชิกจำนวน  9  คน ดังนี้

1.นายบัวลี  หนองแคน                   ประธานกรรมการ

2.นายเลี้อน  เสนา                           รองประธาน

3.นายประเสริฐทรัพย์  คำนนท์       เลขานุการ

4.นายศราวุฒิ  สิมมา                       ผู้ช่วยเลขานุการ

5.นายคำพัน  ยืนยง                         เหรัญญิก

6.นายสุภา  รีฮุง                               ผู้ช่วยเหรัญญิก

7.นายหนูไกล  สุริยกมล                  กรรมการ

8.นายศรีอรุณ  หนองแคน               กรรมการ

9.เด็กชายเตย   คำนนท์                    สมาชิก

กฎระเบียบของหมู่บ้านของบ้านด่านมน  หมู่ที่  4  ตำบลนิคมคำสร้อย  มี  6  ข้อดังต่อไปนี้

1.  ผู้ใดลักขโมยของคนอื่น  ปรับ  500  บาท

2.  ผู้ใดก่อเรื่องทะเลาะวิวาทในงานพิธีต่างๆ  ปรับ  500  บาท 

3.  ผู้ใดก่อเรื่องวิวาท  ทำลายสิ่งของของคนอื่นทำให้เสียหาย  ปรับ  500  บาท  แต่สิ่งของถูกทำลายผู้เสียหายเรียกตามความเสียหาย

4.  ผู้ใดขับขี่รถเร็ว  เสียงดัง  เกิดความลำคาญแก่คนอื่นหรือทำความหวาดเสียว  ปรับ  500  บาท

5.  มีงานพีธีการต่างๆ  หรือมีมหรสพ  ครบงัน  ผู้ใดก่อเรื่องวิวาทตีกันเป็นเหตุให้ไม่สามารถดำเนินการไปได้  ถึงหยุดงาน  ผู้ก่อเรื่องจะต้องชดใช้ค่าเสียหายและจ่ายค่ามหรสพทั้งหมด  โดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น

6.  ครอบครัวใดมีเรื่องไม่เข้าใจกัน  ก่อเหตุชกต่อยหรือไม่ยอมความกันถึงขั้นขึ้นที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน  ปรับ 500  บาท

 

หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “มั่งมี ศรีสุข” บ้านด่านมน

  1. 1.      ด้านจิตใจและสังคม

-  หมู่บ้านมีการประชุม/จัดเวทีประชาคม เพื่อการตัดสินใจ  อย่างน้อย  12 ครั้งใน 1 ปี

-   คนในหมู่บ้านมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของหมู่บ้าน โดยพิจารณาจากการผ่านเกณฑ์ จปฐ. ปี        2554

ข้อ 38  คนในครัวเรือน เป็นสมาชิกกลุ่มที่ตั้งขึ้นในหมู่บ้าน  ร้อยละ 98.7

ข้อ 39  คนในครัวเรือน มีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นเพื่อประโยชน์ของชุมชนหรือท้องถิ่น ร้อยละ 100

ข้อ 40  ครัวเรือน มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อประโยชน์ของชุมชนหรือท้องถิ่น  ร้อยละ 100

ข้อ 41  คนในครัวเรือน มีส่วนร่วมทำกิจกรรมสาธารณะของหมู่บ้าน/ชุมชน  ร้อยละ  100

-    คนในหมู่บ้าน มีการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับตามที่ได้ตกลงกันไว้อย่างน้อย ร้อยละ 70  ของครัวเรือนทั้งหมด

-    หมู่บ้านมีกองทุน  13  กองทุน และสมาชิกในชุมชนได้รับบริการจากกองทุน  มีการจัดสวัสดิการภายในหมู่บ้านที่ยากจน  ด้อยโอกาสและคนที่ประสบปัญหาครบทุกคน

-    คนในหมู่บ้านไปใช้สิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า  ร้อยละ 99

คนในหมู่บ้านยึดมั่นในคุณธรรม/จริยธรรม  ปฏิบัติตามวัฒนธรรมประเพณีและมารยาทไทย  มีการดำเนินชีวิตด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ไม่โลภ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น รู้รัก สามัคคี

-    หมู่บ้านมีการส่งเสริมการลด ละ เลิก อบายมุข 

-    เป็นหมู่บ้านปลอดยาเสพติดประเภท ก

-    หมู่บ้านได้น้อมนำหลักการตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  มาปฏิบัติเป็นแนวทางในการดำรงชีวิต (ปลูกทุกอย่างที่กิน  กินทุกอย่างที่ปลูก  ใช้ทุกอย่างที่ทำ  ทำทุกอย่างที่ใช้)

 

 

 

 

2. ด้านเศรษฐกิจ

-     มีการจัดทำบัญชีครัวเรือน จำนวน 60 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 76

-     คนในหมู่บ้านมีการทำกิจกรรมเพื่อลดรายจ่ายในชีวิตประจำวัน และสามารถสร้างรายได้เพิ่มให้ ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 100

-    คนในหมู่บ้านร่วมเป็นสมาชิกในกลุ่มต่างๆ ในหมู่บ้าน  ผ่านเกณฑ์ จปฐ. ข้อ 38  ร้อยละ 98.7

-    กลุ่ม/องค์กรในหมู่บ้าน มีการพัฒนาทักษะด้านการประกอบอาชีพ และมีกระบวนการจัดการ

-    หมู่บ้านมีการส่งเสริมให้คนในหมู่บ้านเป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ฯ  และกลุ่มอื่นๆ ในหมู่บ้าน

-    ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน  ผ่านเกณฑ์ จปฐ. ข้อ 31 ร้อยละ 94.9

-    ครัวเรือนมีการเก็บออมเงินในรูปแบบออมวันละ 1 บาท (ศูนย์สาธิตการตลาด,กลุ่มเลี้ยงไก่พัธุ์ไข่,กองทุนหมู่บ้าน)

-    มีการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จำนวน 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มไข่เค็มเสริมไอโอดีน และธนาคารข้าว

 

3. ด้านการเรียนรู้

-    หมู่บ้านมีการจัดเก็บ รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ  เช่น  จปฐ./กชช.2 ค, แผนชุมชน

-    หมู่บ้านมีการนำข้อมูลต่างๆ  ไปใช้ในการจัดทำแผนชุมชนและใช้ประโยชน์ได้จริง

-    หมู่บ้านมีกิจกรรมสืบทอดและถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น

-    หมู่บ้านมีการเชื่อมโยงเครือข่ายในระดับกลุ่ม/หมู่บ้าน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลข่าวสารกับหน่วยงาน องค์กร โรงเรียน และหมู่บ้านอื่นๆ

-    หมู่บ้านสามารถแก้ไขปัญหาของชุมชนด้วยตนเอง

-    หมู่บ้านมีการจัดทำแผนชุมชนโดยกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน

 

4. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

-    มีกิจกรรมให้ความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

-    มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและทำกิจกรรมร่วมกัน

-    จัดตั้งกลุ่มผู้ใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำ โดยบริหารจัดการยึดหลักการมีส่วนร่วม

-    ครัวเรือนมีกิจกรรมส่งเสริมการลดการใช้พลังงาน ไดแก่ การใช้รถจักรยาน การใช้หลอดประหยัดพลังงาน

 

5. ด้านความอยู่เย็น เป็นสุข ของหมู่บ้าน หรือความสุขมวลรวมของหมู่บ้าน

มีการประเมินความสุขมวลรวมของคนในหมู่บ้านโดยกระบวนการมีส่วนร่วม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

      

 



view

เว็บบอร์ด

view